"ยิ่งรวยจะยิ่งหยาบคาย"
สิ่งที่เป็นด้านลบเกี่ยวกับการมีเงิน...
นอกจาก “ความงก” มากขึ้น หรือภาระความรับผิดชอบในการรักษาเงินทองที่มีอยู่และทำให้เงินงอกเงยแล้ว
อีกประการหนึ่งคือ “ความหยาบคาย” หยิ่งผยองไม่สนใจใคร
เมื่อมีเงินมากขึ้น นิสัยด้านลบเช่นนี้จะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ดังนั้นจึงต้องระวังตนเองเป็นพิเศษ
จากผลการทดลองของศาสตราจารย์ แดชเชอร์ เคลท์เนอร์...
เรื่องพฤติกรรมของสัตว์โดยทั่วไป กล่าวคือ...
สัตว์ที่ยิ่งอยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านบน คือมีความแข็งแรงกว่า ต่อสู้กับโลกได้ดีกว่าจะมีท่าทีไม่สนใจสัตว์ที่อยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านล่าง
สัตว์ใหญ่ที่กินสัตว์เล็กกว่าเป็นอาหารจะไม่ง้อหรือไม่สนใจสัตว์ที่เล็กกว่า
...แต่สัตว์ที่อยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านล่างจะสนใจสัตว์ใหญ่เพราะการอยู่รอดของตนขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของสัตว์ที่ใหญ่กว่า
สำหรับมนุษย์นั้น... ศาสตราจารย์เคลท์เนอร์เชื่อว่าประสบการณ์จากการมีเงินทำให้มนุษย์ลดความใส่ใจคนที่จนกว่า เนื่องจากไม่ต้องพึ่งพา ไม่ต้องคิดถึงหัวอก เพราะมีความเป็นไปได้น้อยที่จะต้องขอความช่วยเหลือในภายภาคหน้า
ในขณะที่สถานการณ์ตรงกันข้ามเกิดขึ้นกับคนที่จนกว่า ความไม่แน่นอนที่อาจต้องพึ่งพิงคนรวยกว่าในอนาคต ทำให้ต้องใส่คนอื่นๆ ซึ่งกระบวนการนี้ทำให้คนกลุ่มนี้เป็นคนสุภาพโดยไม่ตั้งใจ
หลังจากที่ผมอ่านหนังสือของอาจารย์วรากรณ์แล้ว เรื่องนี้ผมรู้สึกฉุกคิดขึ้นมาได้...
ถ้าเรามีเงินเยอะๆ แต่ไม่มีใครในโลกรักเราเลย แล้วเงินที่เรามีมันจะสร้างความสุขให้เราได้ยังไง...?
ต้องขอบคุณบทความนี้ ที่มาจากหนังสือ "เงินตราพาร่ำรวย" ของ อาจารย์วรากรณ์ สามโกเศศ
ผมเพิ่งซื้อมาอ่านวันนี้เอง...
- Traveller's trade
06.07.2013 (20.32น.)
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
"ยิ่งรวยจะยิ่งหยาบคาย" สิ่งที่เป็นด้านลบเกี่ยวกับการมีเงิน... นอกจาก “ความงก” มากขึ้น หรือภาระความรับผิดชอบในการรักษาเงินทองที่มีอยู่และทำให้เงินงอกเงยแล้ว อีกประการหนึ่งคือ “ความหยาบคาย” หยิ่งผยองไม่สนใจใคร เมื่อมีเงินมากขึ้น นิสัยด้านลบเช่นนี้จะเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ดังนั้นจึงต้องระวังตนเองเป็นพิเศษ จากผลการทดลองของศาสตราจารย์ แดชเชอร์ เคลท์เนอร์... เรื่องพฤติกรรมของสัตว์โดยทั่วไป กล่าวคือ... สัตว์ที่ยิ่งอยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านบน คือมีความแข็งแรงกว่า ต่อสู้กับโลกได้ดีกว่าจะมีท่าทีไม่สนใจสัตว์ที่อยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านล่าง สัตว์ใหญ่ที่กินสัตว์เล็กกว่าเป็นอาหารจะไม่ง้อหรือไม่สนใจสัตว์ที่เล็กกว่า ...แต่สัตว์ที่อยู่ในห่วงโซ่อาหารด้านล่างจะสนใจสัตว์ใหญ่เพราะการอยู่รอดของตนขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของสัตว์ที่ใหญ่กว่า สำหรับมนุษย์นั้น... ศาสตราจารย์เคลท์เนอร์เชื่อว่าประสบการณ์จากการมีเงินทำให้มนุษย์ลดความใส่ใจคนที่จนกว่า เนื่องจากไม่ต้องพึ่งพา ไม่ต้องคิดถึงหัวอก เพราะมีความเป็นไปได้น้อยที่จะต้องขอความช่วยเหลือในภายภาคหน้า ในขณะที่สถานการณ์ตรงกันข้ามเกิดขึ้นกับคนที่จนกว่า ความไม่แน่นอนที่อาจต้องพึ่งพิงคนรวยกว่าในอนาคต ทำให้ต้องใส่คนอื่นๆ ซึ่งกระบวนการนี้ทำให้คนกลุ่มนี้เป็นคนสุภาพโดยไม่ตั้งใจ หลังจากที่ผมอ่านหนังสือของอาจารย์วรากรณ์แล้ว เรื่องนี้ผมรู้สึกฉุกคิดขึ้นมาได้... ถ้าเรามีเงินเยอะๆ แต่ไม่มีใครในโลกรักเราเลย แล้วเงินที่เรามีมันจะสร้างความสุขให้เราได้ยังไง...? ต้องขอบคุณบทความนี้ ที่มาจากหนังสือ "เงินตราพาร่ำรวย" ของ อาจารย์วรากรณ์ สามโกเศศ ผมเพิ่งซื้อมาอ่านวันนี้เอง... - Traveller's trade 06.07.2013 (20.32น.)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น